Concrete floor joint แบบเหล็กเทปูนรอยต่อพื้นคอนกรีต (http://www.concretefloorjoint.com)(http://www.concretefloorjoint.com/images/editor/1.jpg) (http://www.concretefloorjoint.com/images/editor/2.jpg)
(http://www.concretefloorjoint.com/images/editor/3.jpg) (http://www.concretefloorjoint.com/images/editor/4.jpg) (http://www.concretefloorjoint.com/images/editor/5.jpg)
Concrete floor joint (http://www.concretefloorjoint.com) แบบเหล็กเทปูนรอยต่อพื้นคอนกรีต (http://www.concretefloorjoint.com) เนื่องจากคอนกรีตจะมีการหดตัว ขยายตัว หรือเปลี่ยนแปลงจากความชื้นหรืออุณหภูมิของตัวคอนกรีตเอง ผลทำให้คอนกรีตเกิดการเคลื่อนตัว และเกิดรอยแตกร้าวซึ่งจะเกิดปัญหาในช่วงรอยต่อของชิ้นคอนกรีต จึงต้องมีการป้องกันในรอยต่อเหล่านี้ โดยทั่วไปมี 3 แบบ ดังนี้
1 รอยต่อเพื่อการหดตัว หรือเพื่อการควบคุม (Contracetion or Control Joint) (http://www.concretefloorjoint.com)
เมื่อ คอนกรีตแข็งตัว ปริมาตรก็จะลดลงและเกิดการหดตัว ถ้าแรงแค้นที่เกิดจากการหดตัวสูงกว่าแรงดึงที่มีอยู่ในคอนกรีต ก็จะเกิดการแตกร้าว ส่วนสำคัญในการหดตัวนี้คือ น้ำ หากน้ำมากเท่าไร คอนกรีตก็จะแตกร้าวมากเช่นกัน วิธีแก้ไขคือ ใช้น้ำให้น้อยลง และจะได้กำลังคอนกรีตมากขึ้นด้วย การบ่มคอนกรีตก็สามารถช่วยได้ และการเตรียมตำแหน่งรอยต่อเพื่อให้เกิดรอยแตกร้าว โดยการทำรอยต่อให้เป็นร่องลึกประมาณ 1/3 - 1/4 ของความหนาคอนกรีต และกว้าง 3 - 6 ม.ม. และอุดรอยต่อด้วยวัสดุยืดหยุ่นได้ เช่น แอสฟัลต์ ควรทำทุกช่วงเสา สำหรับทางเท้าทุก 2.00 ม. และถนนทุก 5.00 - 6.00 ม.
2 รอยต่อเพื่อการขยายตัว หรือเพื่อแยกโครงสร้าง (Expansion or Isolated Joint) (http://www.concretefloorjoint.com)
เป็น รอยต่อเพื่อให้คอนกรีตขยายตัว หรือแยกโครงสร้างออกจากกัน เพื่อให้คอนกรีตสามารถขยายตัวได้ในแนวดิ่ง รอยต่อนี้จะตัดแผ่นพื้นคอนกรีตออกจากโครงสร้างอื่น โดยมีวัสดุยืดหยุ่นที่ไม่มีการเปลี่ยนในทุกสภาพอากาศ เช่น แผ่นเส้นใย ยาง หนาประมาณ 6 - 12 ม.ม. โดยวางตรงรอยต่อตลอดความหนาของพื้นในแนวดิ่งในจุดที่เหมาะสม เช่น พื้นคอนกรีตใหม่ที่พบกับพื้นเก่า แนวกำแพง ขอบอาคารตึก ฐานบันได ขอบเสา หรือทางเท้ากับถนน
3 รอยต่อเพื่อการก่อสร้าง หรือรอยต่อระหว่างงาน(Construction Joint (http://www.concretefloorjoint.com))
เป็น รอยต่อที่ทำที่ผิวคอนกรีต โดยการกำหนดร่วมกันระหว่างสถาปนิก และวิศวกร เมื่อเป็นรอยต่อที่มิได้ระบุในแบบ รอยต่อในพื้นอาจอยู่กลางพื้นหรือคานซอยได้ ที่ผิวรอยต่อนั้นต้องสะอาด พรมน้ำให้เปียก ราดด้วยน้ำปูนซีเมนต์ข้น ก่อนเททับรอยต่อนั้น
การทำรอยต่อจะช่วยทำให้แรงเค้นดึงภายในคอนกรีตลดลง ควบคุมรอยแตกร้าวให้เป็นระเบียบไม่กระจัดกระจายทำให้ง่ายต่อการซ่อมบำรุงในภายหลัง
การทำรอยต่อจะต้องออกแบบอย่างถูกต้องและจะต้องก่อสร้างอย่างถูกวิธีเพื่อหลีก เลี่ยงการเกิดรอยแตกร้าวที่ไม่สามารถควบคุมได้ โดยมีข้อแนะนำดังต่อไปนี้
รอยต่อควรทำที่ระยะห่างทุกๆ 24-36 เท่าของความหนาพื้น ตัวอย่างเช่น เทพื้นหนา 10 ซม. ระยะห่างในการทำรอยต่อควรทำทุก 3 เมตร แต่ในบางกรณีระยะห่างของรอยต่ออาจทำได้มากกว่านั้นแต่ไม่ควรเกิน 4.5 เมตร แนะนำว่าควรทำแผ่นพื้นให้เป็นรูปทรงจัตุรัสจะดีที่สุด หากไม่สามารถทำได้ให้กำหนดเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า โดยมีอัตราส่วนด้านยาวไม่เกิน 1.5 เท่าของด้านกว้าง และหลีกเลี่ยงการทำพื้นรูปทรงตัวแอว (L- shaped) สำหรับในการทำรอยต่อเพื่อการหดตัว (Contraction Joint (http://www.concretefloorjoint.com)) ความลึกขั้นต่ำของรอยต่อไม่ควรน้อยกว่า ¼ ของความหนาของพื้น แต่ไม่ควรน้อยกว่า 2.5 ซม. ส่วนระยะเวลาที่ทำนั้นจะขึ้นอยู่กับวิธีการที่ใช้ทำรอยต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
คุณวิมลรัตน์ นิ่มเดช (วิศวกรสานักงาน) โทร 090-9075273 neenaknuk@gmail.com
คุณมัลลิกา คาผา (ธุรการประมาณราคา) โทร 090-9073165 pare_va12345@hotmail.com บริษัท ชาญนครวิศวกรรม จํากัด สาขา 3 ลาดหลุมแก้ว
36/24 หมู่ 2 ต.คลองพระอุดม อ.ลาดหลุมแก้ว จ.ปทุมธานี 12140 Tel: 02-159-0984-88
Fax: 02-159-0989
E-mail: contacts_cne3@channakorn.co.th
Website: http://www.concretefloorjoint.com (http://www.concretefloorjoint.com)Keyword: Concrete floor joint (http://www.concretefloorjoint.com) Construction Joint (http://www.concretefloorjoint.com)
ขออนุญาต อัพเดทกระทู้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กระทู้
ขออนุญาต อัพเดทกระทู้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กระทู้
ขออนุญาต อัพเดทกระทู้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กระทู้
ขออนุญาต อัพเดทกระทู้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กระทู้
ขออนุญาต อัพเดทกระทู้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กระทู้
ขออนุญาต อัพเดทกระทู้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กระทู้
ขออนุญาต อัพเดทกระทู้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กระทู้
ขออนุญาต อัพเดทกระทู้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กระทู้
ขออนุญาต อัพเดทกระทู้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กระทู้
ขออนุญาต อัพเดทกระทู้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กระทู้
ขออนุญาต อัพเดทกระทู้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กระทู้
ขออนุญาต อัพเดทกระทู้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กระทู้
ขออนุญาต อัพเดทกระทู้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กระทู้
ขออนุญาต อัพเดทกระทู้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กระทู้
ขออนุญาต อัพเดทกระทู้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กระทู้
ขออนุญาต อัพเดทกระทู้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กระทู้