cmxseed สังคมราตรี
Seed market => Cmxseed Market => หัวข้อที่ตั้งโดย: watamon เมื่อ 02 มิถุนายน 2017, 17:20:20
(http://treeofthai.com/wp-content/uploads/2014/03/terminalia_chebula_harro_Chebulic_Myrobalan_1.jpg)รูปแบบขนาด / วิธีใช้- ผลดิบกินเป็นผลไม้สด รสเปรี้ยวขมอมฝาด มีแทนนินเป็นจำนวนมาก หรือนำไปดองเกลือ
- ผลห่ามนำไปจิ้มน้ำพริก
- ผลอ่อนใช้เป็นยาระบาย ผลแก้เป็นยาฝาดสมาน แก้ลมจุกเสียด เยื่อหุ้มเมล็ดแก้ขัดและโรคเกี่ยวกับน้ำดี มีสารอาหารที่เป็นประโยชน์หลายชนิด เช่น วิตามินซี วิตามินเอ แคลเซียม ฟอสฟอรัส ชาวกะเหรี่ยงใช้ผลย้อมผ้า
- ผลสุก 5 – 6 ผลต้นกับน้ำใส่เกลือเล็กน้อย ใช้เป็นระบายอ่อนๆ ใช้น้ำประมาณ 1 ถ้วยแก้ว จะถ่ายหลังจากทานแล้วประมาณ 2 ชั่วโมง
การศึกษาทางเภสัชวิทยา
ยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Samonella และ Shigella
มีการรายงานทางการวิจัยพบว่า สาร 1,2,3,4,6-penta-O-galloyl-β-D-giucose ที่สกัดแยกได้จากผลของสมอไทย (http://www.disthai.com/)มีฤทธิ์ยับยั้งเอ็นไซม์ acetylcholinesterase และ butyrylcholinesterase โดยให้ค่า IC₅₀ เท่ากับ 29.9±0.3 µM และ 27.6±0.2 µM ตามลำดับ และยังมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระได้อย่างมีประสิทธิภาพมาก โดยให้ค่า IC₅₀ เท่ากับ 4.6±0.2 µM สารสกัดเมทานอลจากผลสามารถจับกับ NMDA และ GABA receptors จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นได้ว่าสมอไทยเป็นพืชสมุนไพรที่น่าสนใจอีกชนิดหนึ่งที่มีศักยภาพสามารถที่จะพัฒนาต่อไป แต่ยังขาดการศึกษาในขั้นตอนสัตว์ทดลอง และ ขั้นคลินิก ซึ่งจะช่วยยืนยันถึงประสิทธิภาพของสมอไทยในการนำไปใช้ป้องกันและรักษาภาวะสมองเสื่อม
การศึกษาทางพิษวิทยา
ความเป็นพิษของสมอไทยในหนูถีบจักร โดยการใช้ผงแห้งและสารสกัดด้วยน้ำจากผลแห้งของสมอไทย จากผลการค้นพบเบื้องต้นพบเจอว่าหนูถีบจักร ทั้งเพศผู้และเพศเมียที่ได้รับสารในรูปของผงจากผลแห้งของสมอไทยขนาด 0.5 , 2.5 และ 5.0 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ในระยะกึ่งเรื้อรัง (5 วันต่อสัปดาห์ เป็นระยะเวลา 13 สัปดาห์) ไม่มีความเป็นพิษเกิดขึ้นอย่างชัดเจนต่อการเปลี่ยนแปลงน้ำหนักตัวและค่าต่างๆ เมื่อทำการตรวจเลือดทางชีวเคมี การตรวจทางโลหิตวิทยา น้ำหนักของอวัยวะและพยาธิสภาพของ ตับ ไต ม้าม และธัยมัส การตรวจสอบความเป็นพิษของสารสกัดด้วยน้ำจากผลแห้งของสมอไทยในหนูถีบจักรเพศผู้และเพศเมีย ที่ได้รับสารสกัดขนาด 0.2,1.0 และ 5.0 กรัม ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม 7 วันต่อสัปดาห์ เป็นเวลา 13 สัปดาห์ ความเป็นพิษของสมอไทยศึกษา จากการชั่งน้ำหนักตัว การตรวจเลือดทาง ชีวเคมี การตรวจทางโลหิตวิทยา น้ำหนักของอวัยวะ สังเกตดูพยาธิสภาพของตับ ไต ม้ามและธัยมัส ซึ่งค่าทั้งหมด ถูกใช้ในการแสดงถึงความเป็นพิษของสมอไทย พบว่าสารสกัดด้วยน้ำของสมอไทยไม่ได้ทำให้เกิดความเป็นพิษอย่างชัดเจนต่อน้ำหนักตัว
การทดสอบพิษเฉียบพลันของสารสกัดผลด้วยเอทานอล 50% โดยให้หนูกินในขนาด 10 กรัม ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม (คิดเป็น 1000 เท่า เปรียบเทียบกับขนาดรักษาในคน) และให้โดยการฉีดเข้าใต้ผิวหนังหนู ในขนาด 10 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ตรวจไม่พบอาการเป็นพิษ
Tags : สมอไทย