
ประกาศสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการในตำแหน่ง
ตำแหน่ง นักวิชาการศาสนาปฏิบัติการ สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
ด้วยสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ จะดำเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับ ราชการในตำแหน่งนักวิชาการศาสนาปฏิบัติการ ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕๓ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ และหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๐รyว ๑๗ ลงวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ เรื่อง การสรรหาโดยการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการ จึงประกาศรับสมัครสอบแข่งขัน ดังรายละเอียดต่อไปนี้
๑. ตำแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้ง และเงินเดือนที่จะได้รับ
ตำแหน่งนักวิชาการศาสนาปฏิบัติการ อัตราเงินเดือน ๑๕,๐๐๐ บาท หรือที่ ก.พ. กำหนด
๒. จำนวนตำแหน่งที่ว่างครั้งแรก จำนวน ๔๘ อัตรา
ตำแหน่งนักวิชาการศาสนาปฏิบัติการ สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ (ส่วนภูมิภาค) จำนวน ๔๘ อัตรา รายละเอียดตามเอกสารแนบท้ายประกาศ ๓. ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
ตำแหน่งนักวิชาการศาสนาปฏิบัติการ ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นที่ต้อง ใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานด้านพุทธศาสนา ภายใต้ การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติ ในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑) ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลด้านพุทธศาสนา และศาสนาอื่นเบื้องต้นพร้อมทั้ง สถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
(๒) จัดทำคู่มอ หลักสูตร สื่อการเรียนการสอนทางศาสนา การสอนการศึกษา พระปริยัติธรรม แผนกธรรม แผนกบาลี และแผนกสามัญศึกษา
(๓) จัดทำคู่มือ หลักสูตร สื่อการเรียนการสอนทางศาสนาของศูนย์พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์
(๔) สำรวจ และรวบรวมข้อมูลสารสนเทศทางด้านการศาสนา ด้านการศึกษาพระปริยัติธรรม
(๕) พิจารณาคำฃออนุญาตจัดตั้งศูนย์หรือหน่วยเผยแพร่ด้านศาสนา และคำขอ อนุญาตจัดตั้งโรงเรียนพระปริยัติธรรม
(๖) พิจารณาจัดสรรเงินอุดหนุนตามพระบรมราชโองการ อุดหนุนกิจกรรม ซ่อมแซมศาสนสถาน องค์กรทางศาสนา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามภารกิจ อุดหนุนการศึกษา พระปริยัติธรรม แผนกธรรม แผนกบาลี และแผนกสามัญศึกษา เงินอุดหนุนบูรณะพัฒนาวัด (๗) 'ฝึกอบรมบุคลากรทางศาสนา รับสนองงานฝึกอบรมพระสังฆาธิการ (๘) จัดทำหนังสือรับรองการปฏิบัติงานของผู้เผยแพร่ศาสนาซาวต่างประเทศ และหนังสือรับรองการเทียบวุฒิการศึกษาพระปริยัติธรรม
(๙) ปฏิบัติงานด้านศาสนิกสัมพันธ์ งานด้านการประชุมมหาเถรสมาคม (๑๐) ดำเนินการด้านศาสบสงเคราะห์
(๑๑) รวบรวม ตรวจสอบข้อมูลประวัติพระสังฆาธิการเพื่อดำเนินการจัดสรรนิตยภัต (๑๒) ตรวจสอบข้อมูลและร่วมดำเนินการเกี่ยวกับการร้องเรียนความประพฤติผิด พระวินัยของพระสงฆ์
๒) ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงาน หรือโครงการเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมาย ผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
๓) ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลลัมฤทธี้ตามที่กำหนดไว้
(๒) ขี้แจงและให้รายละเอืยดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก1บุคคลหรือหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔) ด้านการบริการ
(๑) รับสนองงานร่วมกับสำนักพระราชวังตามหมายรับสั่ง (๒) ให้คำปรึกษา ตอบป้ญหา และขี้แจงเกี่ยวกับงานวิชาการด้านศาสนา (๓) รับสนองงานแม่กองธรรม และแม่กองบาลีสนามหลวง เกี่ยวกับการสอบธรรมบาล
(๔) ให้คำปรึกษา ตอบป้ญหา และขี้แจงเกี่ยวกับงานวิชาการด้านการศึกษาของ คณะสงฆ์ การพัฒนาวัด และป้ญหาการปกครองคณะสงฆ์
(๔) ให้คำปรึกษา ตอบป้ญหา และขี้แจงเกี่ยวกับงานวิชาการด้านการพัฒนาศาสนสถาน
(๖) ให้คำปรึกษา แนะนำแก่ส่วนราชการ องค์กร สมาคม มูลนิธิทางศาสนาตาม ขอบเขตอำนาจหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
๔. คุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครสอบ
๔.๑ ผู้สมัครสอบต้องมีคุณสมบัติทั่วไปและไม่มืลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๖ แห่ง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๔๔๑ ดังต่อไปนี้
ก. คุณสมบัติทั่วไป (๑) มีสัญชาติไทย (๒) มีอายุไม่ตากว่าสิบแปดปี
(๓) เป็นผู้เลื่อมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุขด้วยความบริสุทธน)
ช. ลักษณะต้องห้าม
(๑) เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
(๒) เป็นคนไร้ความสามารถ คนเสมือนไร้ความสามารถ คนวิกลจริตหรือจิตฟ้นเพืเอน ไม่สมประกอบ หรือเป็นโรคตามที่กำหนดไว้ในกฎ ก.พ.
(๓) เป็นผู้อยู่ในระหว่างถูกสั่งพักราชการหรือถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อนตาม พระราชบัญญัตินี้หรือตามกฎหมายอื่น
(๔) เป็นผู้บกพร่องในศีลธรรมอันดีจนเป็นที่รังเกียจของสังคม (๕) เป็นกรรมการหรือผู้ดำรงตำแหน่งที่รับผิดชอบในการบริหารพรรคการเมือง หรือ เจ้าหน้าที่ในพรรคการเมือง
(๖) เป็นบุคคลล้มละลาย
(๗) เป็นผู้เคยต้องรับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุกเพราะกระทำ ความผิดทางอาญา เว้นแต่เป็นโทษสำหรับความผิดที่ไต้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(๘) เป็นผู้เคยถูกลงโทษให้ออก ปลดออก หรือไล่ออกจากรัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นชองรัฐ
(๙) เป็นผู้เคยถูกลงโทษให้ออก หรือปลดออก เพราะกระทำผิดวินัยตาม พระราชบัญญัตินี้หรือตามกฎหมายอื่น
(๑๐) เป็นผู้เคยถูกลงโทษไล่ออก เพราะกระทำผิดวินัยตามพระราชบัญญัตินี้ หรือตามกฎหมายอื่น
(๑๑) เป็นผู้กระทำการทุจริตในการสอบเข้ารับราชการ หรือเข้าปฏิบัติงานในหน่วยงานของรัฐ
ผู้ที่จะเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือนซี่งมีลักษณะต้องห้ามตาม ข. (๔) (๖) (๗) (๘) (๙) (๑๐) หรือ (๑๑) ก.พ. อาจพิจารณายกเว้นให้เข้ารับราชการไต้ แต่ถ้าเป็นกรณีมีลักษณะต้องห้าม ตาม (๘) หรือ (๙) ผู้นั้นต้องออกจากงานหรือออกจากราชการไปเกินสองปีแล้ว และในกรณีมีลักษณะ ต้องห้ามตาม (๑๐) ผู้นั้นต้องออกจากงานหรืออกจากราชการไปเกินสามปีแล้ว และต้องมิใช่เป็นกรณี ออกจากงานหรือออกจากราชการเพราะทุจริตต่อหน้าที่ สำหรับผู้มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๖ ข้อ (๑) ให้มีสิทธิสมัครสอบแช่งชันไต้ แต่จะมีสิทธิไต้รับการบรรจุเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ ที่สอบแช่งชันได้ต่อเมื่อพ้นจากการเป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองแล้ว
สำหรับพระภิกษุหรือสามเณรทางราชการไม่รับสมัครสอบ และไม่อาจให้ เข้าสอบแข่งขันเพื่อบรรจุเข้ารับราชการ ทั้งนี้ ตามหนังสือกรมสารบรรณคณะรัฐมนตรีฝ่ายบริหาร ที่ นว ๘๙/๒๕:๐๑ ลงวันที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๐๑ และความในข้อ ๕ ของคำสั่งมหาเถรสมาคม ลงวันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๓๘
๔.๒ ผู้สมัครสอบต้องมีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง ดังนี้
ได้รับปริญญาตรี หรีอคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดในระดับเดียวกันในทุกสาชาวิชา และเป็นผู้สอบผ่านภาคความรู้ความสามารถทั่วไป ระดับปริญญาตรีขึ้นไป ของ ก.พ.
๕. การรับสมัคร
๕.๑ วัน เวลา และสถานที่รับสมัคร
ผู้ที่มีความประสงค์จะสมัครสอบสามารถดาวน์โหลดใบสมัครสอบฯ ได้ที่เว็บไซต์
www.onab.go.th หัวข้อ"แบบใบสมัครสอบแข่งขันเข้ารับราชการสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ" หรือขอรับใบสมัครและต้องยื่นใบสมัครด้วยตนเอง ได้ที่ห้องประชุม ชั้น ๑ อาคาร ๒ สำนักงาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติ อาคารหลวงพ่อวัดปากนํ้า อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ตั้งแต่วันที่ ๒๙ มิถุนายน – ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๑ ในวันราชการและเวลา ภาคเช้า ๐๘.๓๐ – ๑๒.๐๐ น. ภาคบ่าย เวลา ๑๓.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กลุ่มบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงาน เลขานุการกรม โทร. ๐ ๒๔๔๑ ๗๙๒๖-๗ ๕.๒ ค่าธรรมเนียมสอบ
ผู้สมัครสอบต้องเสียค่าธรรมเนียมสอบ จำนวน ๓๐๐ บาท ๕.๓ หลักฐานที่ต้องยื่นพร้อมใบสมัครสอบ
(๑) รูปถ่ายหน้าตรง ไม่สวมหมวกและไม่สวมแว่นตาดำ ขนาด ๑.๕ X ๒ นิ้ว ถ่ายครั้งเดียวกันไม่เกิน ๖ เดือน (นับถึงวันปีดรับสมัคร) จำนวน ๓ รูป
(๒) สำเนาปริญญาบัตรและสำเนาระเบียนแสดงผลการเรียน (Transcript) ที่แสดงว่า เป็นผู้มีวุฒิการศึกษาตรงกับตำแหน่งที่สมัครสอบ จำนวนอย่างละ ๑ ฉบับ
ทั้งนี้ ผู้ที่จะถือว่าเป็นผู้สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรชั้นปริญญาบัตร (หรือ ประกาศนียบัตร) ของสถานศึกษาใดนั้นจะถือตามกฎหมาย กฎ หรือระเบียบเกี่ยวกับการสำเร็จ การศึกษาตามหลักสูตรชองสถานศึกษานั้น ๆ เป็นเกณฑโดยจะต้องสำเร็จการศึกษาและได้รับอนุมัติจาก ผู้มีอำนาจอนุมัติภายในวันปิดรับสมัครสอบ คือ วันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๑ ในกรณีที่ไม่สามารถ นำหลักฐานการศึกษาดังกล่าวมายื่นพร้อมใบสมัครสอบไดให้นำหนังสือรับรองคุณวุฒิที่สถานศึกษา ออกให้โดยระบุสาขาวิชาที่สำเร็จการศึกษาและวันที่ที่ได้รับอนุมัติประกาศนียบัตร (หรือปริญญาบัตร) ซึ่งต้องอยู่ภายในกำหนดวันปิดรับสมัครมายื่นแทน
(๓) สำเนาบัตรประจำตัวประซาซน จำนวน ๑ ฉบับ
(๔) สำเนาหลักฐานอื่นๆ เซ่นใบสำคัญการสมรสสำเนาใบเปลี่ยนขื่อ-นามสถุล (ในกรณี ซื่อ-นามสถุล ในหลักฐานการรับสมัครไม่ตรงกัน เป็นต้น) จำนวน ๑ ฉบับ
-๕-
(๕) สำเนาหนังสือรับรองผลการสอบผ่านภาคความรู้ความสามารถทั่วไปของ ก.พ. ระดับปริญญาตรีขึ้นไป จำนวน ๑ ฉบับ ผู้สมัครสอบแข่งขันที่ยื่นสำเนาหนังสือรับรองผลการสอบ ภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ของ ก.พ.) ที่สูงกว่าระดับคุณวุฒิที่สมัครสอบให้แนบสำเนาปริญญาบัตร ในระดับคุณวุฒินั้นเพิ่มอีก ๑ ฉบับ
สำเนาเอกสารทุกฉบับให้ผู้สมัครเขียนคำรับรองว่า "สำเนาถูกต้อง" ลงซื่อ วันที่ที่มาสมัคร
๖. เงื่อนไขการรับสมัครสอบ
๖.๑ ผู้สมัครสอบจะต้องเป็นผู้มีวุฒิการศึกษาตรงตามข้อ ๔.๒ โดยต้องเป็นผู้สำเร็จ การศึกษาและได้รับการอนุมัติจากผู้มีอำนาจอนุมัติภายในวันปิดรับสมัครคือวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๑ ๖.๒ ผู้สมัครสอบต้องรับผิดชอบในการตรวจสอบและรับรองตนเองว่าเป็นผู้มี คุณสมบัติตรงตามประกาศรับสมัครสอบ และต้องกรอกรายละเอียดต่าง ๆ ให้ถูกต้องครบถ้วนตรงตาม ความเป็นจริง ในกรณีที่มีความผิดพลาดอันเกิดจากผู้สมัคร หรือตรวจพบว่าเอกสารหลักฐาน ซื่งผู้สมัครสอบ นำมายื่นไม่ตรงหรือไม่เป็นไปตามประกาศรับสมัครสอบ สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติจะถือว่า ผู้สมัครสอบเป็นผู้ขาดคุณสมบัติในการรับสมัครสอบครั้งนี้มาตั้งแต่ต้น และจะไม่คืนด่าธรรมเนียมในการ รับสมัครสอบ
๗. การประกาศรายซื่อผู้สมัครสอบ วัน เวลา สถานที่สอบ และระเบียบเกี่ยวกับการสอบ
สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ จะประกาศรายซื่อผู้สมัครสอบ วัน เวลา สถานที่สอบ และระเบียบเกี่ยวกับการสอบในวันที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๖๑ ทางเว็บไซต์ www.onab.go.th หัวข้อ"การประกาศรายซื่อผู้สมัครสอบ วัน เวลา สถานที่สอบ และระเบียบเกี่ยวกับการสอบ"
๘. หลักสูตรและวิธีการสอบแข่งขัน
๘.๑ การสอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใซ้เฉพาะตำแหน่ง คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน โดยวิธีสอบข้อเขียน ในเรื่องต่อไปนี้
๑) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติมจนถึงปึจจุบัน กฎ และระเบียบที่เกี่ยวข้อง นโยบายของรัฐบาล รัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒
๒) ความเทั่วไปเกี่ยวกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ บทบาทหน้าที่ของสำนักงาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอำนาจหน้าที่ และหลักวิชาการที่เกี่ยวกับกิจการ พระพุทธศาสนา
๘.๒ การสอบแข่งขันเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่จากประวัติ ส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฏของผู้เข้าสอบและจาก การสัมภาษณ์ ทั้งนี้ อาจใช้วิธีการอื่นใดเพิ่มเติมเพื่อพิจารณาความเหมาสมในด้านต่างๆ เซ่น ความรู้ที่อาจ ใช้เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ท1วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ จรรยาบรรณของข้าราชการพลเรือน คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน รวมทั้ง
ลิ้งรายละเอียดเพิ่มเติม
ประกาศสอบ